(0)
วัดใจ...ต่ำกว่าค่าเลี่ยม พระหลวงพ่อปาน รุ่นเจริญสุข ปี2539 ว.ช.พ หลวงปู่อ่อนสา สุขกาโร วัดป่าประชาชุมพล จ.อุดรธานี + ฉลองสิริราชสมบัติในหลวงครบ 50 ปี (พิธีใหญ่ มวลสารเยี่ยม ผสมผงมวลสารพระหลวงพ่อปานเก่






รายงานผลโหวต

จากรูปพระแท้ 0% [0]
จากรูปพระแท้แต่ข้อมูลไม่ถูกต้อง     0% [0]
จากรูปพระเก๊ 0% [0]
พระดูยากจากรูป 0% [0]

จำนวน โหวต



ชื่อพระเครื่องวัดใจ...ต่ำกว่าค่าเลี่ยม พระหลวงพ่อปาน รุ่นเจริญสุข ปี2539 ว.ช.พ หลวงปู่อ่อนสา สุขกาโร วัดป่าประชาชุมพล จ.อุดรธานี + ฉลองสิริราชสมบัติในหลวงครบ 50 ปี (พิธีใหญ่ มวลสารเยี่ยม ผสมผงมวลสารพระหลวงพ่อปานเก่
รายละเอียดวัดใจ...ต่ำกว่าค่าเลี่ยม พระหลวงพ่อปาน รุ่นเจริญสุข ปี2539 ว.ช.พ หลวงปู่อ่อนสา สุขกาโร วัดป่าประชาชุมพล จ.อุดรธานี + ฉลองสิริราชสมบัติในหลวงครบ 50 ปี (พิธีใหญ่ มวลสารเยี่ยม ผสมผงมวลสารพระหลวงพ่อปานเก่าจำนวนมาก) พระสวยคมสมบูรณ์มากครับ จบเท่าไรก็เท่านั้นครับ

หลวงปู่อ่อนสา สุขกาโรุ วัดประชาชุมพลพัฒนาราม บ้านหนองใหญ่ ต.หมากแข้ง อ.เมือง จ.อุดรธานี
สิริอายุ 95 ปี 75 พรรษา
หลวงปู่อ่อนสา สุขกาโร มีนามเดิมว่า อ่อนสา เมืองศรีจันทร์ เกิด ณ บ้านโนนทัน ตำบลบ้านจั่น อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี เมือวันที่ 10 กรกฎาคม 2457 ปีขาล วันศุกร์
โยมบิดา นามว่านายมา เมืองศรีจันทร์
โยมมารดาชื่อนางโม้ เมืองศรีจันทร์
มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 10 คน เป็นผู้ชาย 5 คน ผู้หญิง 5 คน หลวงปู่อ่อนสาเป็นคนโตซึ่งมีน้องต้องค่อยดูแลถึง 9 คน ครอบครัวของหลวงปู่เป็นเกษตรกร และท่านเป็นบุตรคนโตมีโอกาสศึกษาจนจบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที 4 จากนั้นได้ออกมาช่วยพ่อแม่ทำไร่ทำนาและดูแลน้องๆ

เมื่ออายุได้ 21 ปี ท่านได้ไปเกณฑ์ทหารแต่ไม่ติด ท่านจึงได้ขอโยมบิดา- มาดาไปบวช โดยได้อุปสมบท ณ วัดโยธานิมิต ต.บ้านตาด อ.เมือง จ.อุดรธานีเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2478 เวลา 13.47 น. โดยมีพระธรรมเจดีย์ ( จูม พันธุโล ) เป็นประอุปัชฌาย์ มีพระครูประสาทคณานุกิจ เป็นพระกรรมวาจารย์ พระครูศาสนูปกรณ์ ( อ่อนตา เขมงกโร ) เป็นพระอนุสาวนาจารย์ มีฉายาว่า สุขกาโร ภิกขุ
ต่อมาหลวงปู่ได้ออกธุดงค์ไปอำเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม เพื่อหาที่สัปปายะบำเพ็ญภาวนาและบังเอิญท่านได้พบกับหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน แล้วได้พากันไปภาวนาที่ภูลังกาและออกธุดงค์ด้วยกัน ต่อมาหลวงปู่ได้มีโอกาสกราบนมัสการพระอาจารย์หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต และได้เข้าจำพรรษากับพระอาจารย์หลวงปู่มั่น หลังจากที่หลวงปู่อ่อนสา ได้บำเพ็ญภาวนาพอสมควรแล้วท่านได้ย้อยกับมายังภาคอีสาน ท้ายสุดท่านได้มาจำพรรษา ณ วัดประชาชุมพลพัฒนาราม บ้านหนองใหญ่ ต.หมากแข้ง อ.เมือง จ.อุดรธานี อันเป็นแผ่นดินเกิดของท่าน
ราคาเปิดประมูล20 บาท
ราคาปัจจุบัน220 บาท (!!! ปิดประมูลแล้ว !!!)
เพิ่มขึ้นครั้งละ20 บาท
วันเปิดประมูล - 11 ก.พ. 2560 - 18:11:55 น.
วันปิดประมูล - 12 ก.พ. 2560 - 18:23:51 น. (ปิดประมูลแล้ว)
ผู้ตั้งประมูลnatthawat14 (14K)


(0)
ข้อมูลเพิ่มเติม 1 - 11 ก.พ. 2560 - 18:13:16 น.



หลวงปู่อ่อนสา สุขกาโรุ วัดประชาชุมพลพัฒนาราม บ้านหนองใหญ่ ต.หมากแข้ง อ.เมือง จ.อุดรธานี
สิริอายุ 95 ปี 75 พรรษา
หลวงปู่อ่อนสา สุขกาโร มีนามเดิมว่า อ่อนสา เมืองศรีจันทร์ เกิด ณ บ้านโนนทัน ตำบลบ้านจั่น อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี เมือวันที่ 10 กรกฎาคม 2457 ปีขาล วันศุกร์
โยมบิดา นามว่านายมา เมืองศรีจันทร์
โยมมารดาชื่อนางโม้ เมืองศรีจันทร์
มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 10 คน เป็นผู้ชาย 5 คน ผู้หญิง 5 คน หลวงปู่อ่อนสาเป็นคนโตซึ่งมีน้องต้องค่อยดูแลถึง 9 คน ครอบครัวของหลวงปู่เป็นเกษตรกร และท่านเป็นบุตรคนโตมีโอกาสศึกษาจนจบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที 4 จากนั้นได้ออกมาช่วยพ่อแม่ทำไร่ทำนาและดูแลน้องๆ

เมื่ออายุได้ 21 ปี ท่านได้ไปเกณฑ์ทหารแต่ไม่ติด ท่านจึงได้ขอโยมบิดา- มาดาไปบวช โดยได้อุปสมบท ณ วัดโยธานิมิต ต.บ้านตาด อ.เมือง จ.อุดรธานีเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2478 เวลา 13.47 น. โดยมีพระธรรมเจดีย์ ( จูม พันธุโล ) เป็นประอุปัชฌาย์ มีพระครูประสาทคณานุกิจ เป็นพระกรรมวาจารย์ พระครูศาสนูปกรณ์ ( อ่อนตา เขมงกโร ) เป็นพระอนุสาวนาจารย์ มีฉายาว่า สุขกาโร ภิกขุ
ต่อมาหลวงปู่ได้ออกธุดงค์ไปอำเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม เพื่อหาที่สัปปายะบำเพ็ญภาวนาและบังเอิญท่านได้พบกับหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน แล้วได้พากันไปภาวนาที่ภูลังกาและออกธุดงค์ด้วยกัน ต่อมาหลวงปู่ได้มีโอกาสกราบนมัสการพระอาจารย์หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต และได้เข้าจำพรรษากับพระอาจารย์หลวงปู่มั่น หลังจากที่หลวงปู่อ่อนสา ได้บำเพ็ญภาวนาพอสมควรแล้วท่านได้ย้อยกับมายังภาคอีสาน ท้ายสุดท่านได้มาจำพรรษา ณ วัดประชาชุมพลพัฒนาราม บ้านหนองใหญ่ ต.หมากแข้ง อ.เมือง จ.อุดรธานี อันเป็นแผ่นดินเกิดของท่าน


 
ราคาปัจจุบัน :     220 บาท
เพิ่มขึ้นครั้งละ :     20 บาท

!!! ปิดประมูลแล้ว !!!

ผู้ชนะประมูล    prisajee (2.6K)

 

Copyright ©G-PRA.COM